Friday, February 23, 2007

ปิดเทอมแล้ว ดีใจจัง
แต่ก้อต้องเหนื่อยเพื่ออนาคตของเรา
เพื่อนๆคงมีที่เรียนพิเศษกันแล้ว
ก้อตั้งใจเรียนกันหน่อยนะ
เราจะเหนื่อยในวันนี้........
แต่เพื่อนๆจะสบายในวันหน้านะ........
เอาใจช่วยเพื่อนๆทุกคน....

แต่ช่วงนี้เรามาพักสมองกับนิยายความรัก
ที่เชื่อว่าเพื่อนๆหลายคนอาจต้องจดจำสิ่งนั้นไปตลอด!!!!!!



วันที่ไม่มีเธอ
มันคงเป็นการทำใจที่ยากมากๆ . . .
เมื่อวันนี้ . . .ฉันจะต้องสูญเสียเธอไป
และไม่รู้ว่า . . . อีกนานแค่ไหน
. . . ที่ฉันจะมีวัน ที่จะได้เธอกลับคืนมา


หรือ . . .
จะไม่มีวันนั้น . . .ที่ฉันรอคอยอยู่ก็ตาม
แต่สิ่งหนึ่งที่ฉันรู้สึกว่า . . .
มันไม่ได้สูญเสียไปพร้อมกับเธอเลย . . .ก็คือ “ความทรงจำ”

ความทรงจำเกี่ยวกับเธอ ยังคงจะติดอยู่กับฉันเสมอ
. . .รอยยิ้ม . . .
. . .เสียงหัวเราะ . . .
. . .คำพูดทุกคำ . . .
. . .และทุกๆ อย่างที่เป็นเธอ . . .


มันจะยังอยู่ . . .ในความทรงจำของฉันต่อไป
แม้ในบางครั้งมันอาจจะเลือนลางไปบ้าง
แต่ . . .ฉันอยากให้เธอจงรู้เอาไว้ว่า
. . .มันจะไม่เคยหายไปไหน



มันพร้อมที่จะผุดออกมา เมื่อมีอะไรมาสะกิด
และทำให้ฉันยิ้มได้เสมอ
ฉันไม่รู้ว่า . . .วันนี้เธออยู่ไหน
แต่โปรดจงรู้ไว้ว่า . . .ฉันจะยืนอยู่ที่เดิม ณ ที่นี้เสมอไป


หากวันใดที่เธอรู้สึกอ่อนล้า . . .โปรดจงหันกลับมา
และเดินกลับมา ณ ที่เดิมที่นี้
ที่ . . .ที่พร้อมจะปลอบโยนเธอ . . .ด้วยรอยยิ้มและเสียงหัวเราะ
ที่ . . .ที่จะทำให้เธอรู้สึกปลอดภัย และอบอุ่นเสมอ


และเราก้อยังมีนิยายอีกบทนึงให้เพื่อนๆ

การรอคอย
เพราะความรักให้ความหวังฉันว่า สักวันเขาอาจจะกลับมา

แม้ความจริงที่ตรงหน้า...จะคัดค้าน

ด้วยความรักกระซิบเบาๆ ที่ข้างหูของฉันว่า

"การรอคอย" เป็นเพียงส่วนหนึ่งอันยิบย่อยของความรัก

หากฉันรัก...ฉันต้องรอได้ และใช่!

ฉันไม่เคยบังคับหรือฝืนใจตัวเองเลย

ฉันเต็มใจและยินดีที่จะรอเป็นอย่างยิ่ง อาจดูโง่...และบ้า

แต่ความรักปลอบฉันว่า ฉันไม่ได้บ้า...และไม่ได้โง่

หลายครั้งที่เสียงของเหตุผลทั้งหลายทั้งปวงตะโกนบอกฉัน

ว่าจงเลิกรอและเลิกหวังลม ๆ แล้ง ๆ เสียที

แต่หัวใจฉันเองมันรั้นที่จะทำตาม

เพราะอย่างที่ความรักบอก "หากฉันรัก...ฉันต้องรอได้"

ฉันปิดหูปิดตา...และฟังแต่ความรักอย่างเดียว

อาจจะจริงอย่างที่ใครหลายคนกล่าวไว้

"ความรักเป็นเรื่องที่ไร้เหตุผล"

แต่ชีวิตคน...ไม่ใช่"

ความรักบอกให้เรารอคอย เพื่อรู้ซึ้งถึงความยิ่งใหญ่ของรัก

ว่าเพื่อความรักแล้ว...ใครหลายคนยอมทำได้ทุกอย่าง

แม้แต่การทำร้ายตัวเองและหลายครั้งที่กลายเป็นว่า

เรายอม "โง่"...เพื่อความรัก

และใช่! หากเราอยากฉลาด...และไม่ต้องเจ็บปวด

ไม่ต้องเสียเปรียบใคร

ไม่ต้องทำอะไรเพื่อใคร...หากไม่มีสิ่งใดตอบแทน

เราต้องยกให้ "เหตุผล" อยู่เหนือชีวิตในทุก ๆ เรื่อง

แต่หากต้องเป็นเช่นนั้น

ชีวิตจะหยาบกระด้างเกินไป

ความรักไม่ได้สอนให้เราโง่

ความรักเพียงสอนให้เราเรียนรู้ที่จะเป็นผู้ให้...และเสียสละ

ความรักเพียงอยากให้เราอ่อนโยนต่อโลก

โดยการทำอะไรเพื่อใครสักคน...อย่างไม่หวังสิ่งตอบแทน

ด้วยเหตุและผลทั้งหลายทั้งมวลบอกว่า

เมื่อความรักจบลง...การรอคอยก็สิ้นสุดลงเช่นกัน

แต่หากเราหา "จุดพอดี" ให้กับชีวิตเจอ

เอา "เหตุผล" มาผสมกับ "ความรัก" ได้

เวลานั้น เราอาจเลิกรอเขาได้ ในขณะที่ความรักยังคงหายใจอยู่

Saturday, February 17, 2007

Le saviez-vous ?
La Formule 1 est une discipline de sport automobile qui se dispute sur des circuits fermés à bord de monoplaces. Si le championnat du monde de Formule 1 moderne prend corps en 1950, la discipline remonte, en fait, bien plus loin. Dès 1906, on dispute le premier Grand Prix automobile. Disputé au Mans, il s'agit du « Grand Prix de l'ACF ». En 1929, le « Grand Prix de Monaco » est créé. La catégorie « Formule 1 » voit le jour en 1947 ; un an plus tard, Ferrari aligne ses premières voitures en Grand Prix. Le championnat du monde des pilotes moderne est finalement mis en place en 1950, puis la Coupe des constructeurs, qui deviendra le Championnat du monde des constructeurs à partir de 1982, est lancée en 1958.

Friday, February 16, 2007

Naissance de l'opéra

L’opéra est né en Italie au XVIIe siècle. Parmi les ancêtres de l’opéra figurent les madrigauxmascarades, les ballets de cour, les intermezzi, ainsi que d’autres spectacles de cour de la Renaissance, faisant intervenir des figurants, de la musique et de la danse, sont autant de précurseurs. L’opéra proprement dit émane d’un groupe de musiciens et d’intellectuels qui s’étaient donné le nom de Camerata (« salon » en italien). La Camerata, appelée aussi Camerata fiorentina ou encore Camerata de'Bardi, s’était fixée deux objectifs principaux : faire revivre le style musical du théâtre grec antique et s’opposer au style contrapuntique de la musique de la Renaissance. En particulier, ils souhaitaient que les compositeurs s’attachent à ce que la musique reflète, simplement et mot pour mot, la signification des textes. La Camerata pensait reprendre en cela les caractéristiques de la musique grecque antique. italiens, qui mirent en musique des situations avec des dialogues, mais sans jeu de scène. Les

Le XIXe siècle allemand

Le premier grand opéra allemand du XIXe siècle est Fidelio (1805) de Ludwig van Beethoven. Carl Maria von Weber composa l’opéra romantique allemand Der Freischütz (1821) et les opéras tout aussi rocambolesques Euryanthe (1823) et Oberon (1826).

L’opéra allemand atteignit l’un de ses sommets avec Richard Wagner qui donna naissance à ce qu’il a appelé le « drame en musique », dans lequel le texte (dont il était l’auteur), la partition et la mise en scène étaient inséparables. Ses premiers opéras, tels que Le Vaisseau fantômeTannhäuser (1845) et Lohengrin (1850), conservèrent des éléments de l’ancien style. Ses plus grandes œuvres furent Tristan et Isolde (1865), les quatre opéras composant l’Anneau du Nibelung (1852-1874, comprend L'Or du Rhin, La Walkyrie, Siegfried et Le Crépuscule des dieux), Les Maîtres chanteurs de Nuremberg (1868), où il décrivit les guildes médiévales, et Parsifal (1882). Les œuvres de Wagner font un grand usage du leitmotiv, terme musical identifiant un personnage ou une idée revenant régulièrement dans toute l’œuvre. (1843),